บทความ

บทความ เศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจและสังคม

การออกแบบยุทธศาสตร์เพื่อขับเคลื่อนสังคม

กฤษฎา บุญชัย ปัญหาของวิธีคิดออกแบบยุทธศาสตร์กระแสหลัก แนวคิดเรื่อง ยุทธศาสตร์ ซึ่งแต่เดิมเป็นแนวคิดทางการทหารที่ใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายทางสังคม ได้ถูกนำมาใช้เป็นยุทธศาสตร์สำหรับการวางแผนพัฒนา โดยเฉพาะหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะ เช่น รัฐบาล ราชการ เอกชน ประชาสังคม การเปลี่ยนบทบาทจากสถานการณ์การสู้รบ มาเป็นการพัฒนาที่มีปัจจัยกว้างขวางและซับซ้อนมากกว่า ทั้งปัญหาที่เผชิญ เป้าหมายที่ต้องการบรรลุ ภาคีที่เกี่ยวข้อง ทรัพยากรที่มี ช่วงเวลาที่ต้องการผลสัมฤทธิ์ และอื่น ๆ ทำให้ความหมาย... อ่านต่อ
13 min read
นิเวศ ชีวภาพ ความมั่นคงอาหารชุมชนลุ่มน้ำโขง

สถานภาพวิชาการ เพื่อแม่น้ำโขงที่ยั่งยืน และเป็นธรรม

สัมภาษณ์ : ผศดรกนกวรรณ มโนรมย์คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีโดย : ดรกฤษฎา บุญชัย สัมภาษณ์ ผศดรกนกวรรณ มโนรมย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กฤษฎา: สวัสดีครับอาจารย์กนกวรรณ จากที่ได้คุยกันเรื่องเวทีสังเคราะห์บทเรียน ออกแบบอนาคต และยุทธศาสตร์ของภาคประชาสังคมต่อลุ่มน้ำโขง ซึ่งมีประเด็นสำคัญคือบทเรียนของนักวิชาการ และภาควิชาการ มองอดีต และปัจจุบัน ขออาจารย์ช่วยประเมินสถานะความรู้ บทบาทงานวิชาการต่อเรื่องแม่น้ำโขง มีความก้าวหน้า หรือผลสำเร็จ หรือการสร้างผลสะเทือนอย่างไรได้บ้าง... อ่านต่อ
19 min read
นิเวศ ชีวภาพ ความมั่นคงอาหารชุมชนลุ่มน้ำโขง

อนาคตลุ่มน้ำโขง ในบริบทการขยายอำนาจของจีน

สัมภาษณ์ รศวรศักดิ์ มหัทธโนบล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดย ดรกฤษฎา บุญชัย สัมภาษณ์ รศวรศักดิ์ มหัทธโนบล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กฤษฎา: สวัสดีครับอาจารย์วรศักดิ์ ขอชวนอาจารย์คุยเรื่องบทบาทจีนในลุ่มน้ำโขง ช่วงแรก ขออาจารย์เล่าภาพเบื้องต้น จีนให้ความสำคัญ หรือมองบทบาทแม่น้ำโขงอย่างไรบ้าง ทั้งเชิงมิติทรัพยากร ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม หรือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วรศักดิ์: หากพูดถึงแม่น้ำโขงเป็นกรณีศึกษา ขอเริ่มต้นว่า ไม่เฉพาะแม่น้ำโขง หรือแม่น้ำสายอื่น ๆ ของจีน หรือท... อ่านต่อ
19 min read
เศรษฐกิจและสังคม

บันทึกเวทีสภาประชาชน อภิปราย ออนไลน์ ไม่ไว้วางใจรัฐบาล ครั้งที่ 2 : ในญัตติ การผลักดันให้ประเทศไทยไปเจรจาเข้าร่วมความตกลงหุ้นส่วน เศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP)

อ่านบันทึกการเสวนาออนไลน์…ดาวน์โหลดไฟล์ ebook https://wwwldiorth/wp-content/uploads/2021/12/CPTPPpdf สภาประชาชน 5 ภาค เปิด"เวทีสภาประชาชนเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล (ออนไลน์) ครั้งที่ 2ในญัตติ : การผลักดันให้ประเทศไทยไปเจรจาเข้าร่วมความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP)วันเสาร์ที่ 23 ตุลาคม 2564 เวลา 1300 – 1600 น เผยแพร่ทางเพจ : สภาประชาชนภาคใต้, The Reporters, วาระปกป้องแผ่นดินใต้, NGOs ใต้, FTA Watch, สื่อเถื่อน ข่าว, P-Move... อ่านต่อ
1 min read
นิเวศ ชีวภาพ ความมั่นคงอาหารชุมชนลุ่มน้ำโขง บทความ

ไก/เทา พืชอาหารธรรมชาติลุ่มน้ำโขง

รพิจันทร์ ภูริสัมบรรณ (1) แนะนำไก/เทา สาหร่ายน้ำจืดที่มีตามลำน้ำโขง มีชื่อเรียกตามถาษาท้องถิ่นว่า ไก (ไค - ลาว) หรือ เทา (เตา - ลาว) ตามแต่ละชนิดและพื้นที่ โซนน้ำโขงทางเชียงรายจะเรียกว่า ไก ส่วนน้ำโขงทางภาคอีสานส่วนใหญ่จะเรียกสาหร่ายแม่น้ำโขงว่าเทาทั้งหมด ไม่ว่าจะเส้นสั้นหรือยาว สาหร่ายน้ำจืดแท้จริงไม่ใช่พืช แต่ก็มีความสำคัญต่อระบบนิเวศและเป็นสิ่งที่อยู่คู่แม่น้ำโขงและวิถีชีวิตที่สัมพันธ์กับแม่น้ำโขงมาช้านาน  ไก/เทาเหล่านี้เป็นทั้งแหล่งอาหาร ที่ยึดเกาะ และแหล่งอนุบาลของปลาและสัตว์น้ำ... อ่านต่อ
8 min read
ข่าวประชาสังคม บทความ

การสร้างพลเมืองในศตวรรษที่ 21

สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา ได้ศึกษาเปรียบเทียบกระบวนการสร้างเป้าหมายร่วมแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศไปสู่ความมั่นคง กรณีศึกษา ๕ ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐประชาชนจีน  สาธารณรัฐสิงคโปร์  สาธารณรัฐเกาหลีใต้ สหพันธรัฐเยอรมนี  และสหราชอาณาจักร พบว่า เรื่องที่ทุกประเทศให้ความสำคัญ คือ การสร้างคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ และมีคุณธรรม โดยทุกประเทศต่างมีการปลูกฝังคุณธรรมความเป็นพลเมือง มีการพัฒนาระบบการศึกษาให้มีคุณภาพ และมีนโยบายในการสนับสนุนหรือเอื้อต่อความเป็นพลเมือง (เพิ่มเติม…)... อ่านต่อ
1 min read
บทความ

กลยุทธ์แห่ง จูเลียส ซีซาร์

จุดกำเนิดกรุงโรม บริเวณที่ตั้งและภูมิประเทศของกรุงโรม ตั้งอยู่ทางตอนกลางของคาบสมุทรอิตาลี เป็นหุบเขาขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 3 ตารางไมล์ ประกอบด้วยเนินเขา 7 ลูกและแม่น้ำ 2 สายมาบรรจบกัน มีชุมชนขนาดใหญ่ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำไทเบอร์ (Tiber) และแม่น้ำอานีอาเน่ (Aneane) ห่างจากฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียน 24 กิโลเมตร (เพิ่มเติม…)... อ่านต่อ
1 min read
บทความ

(ตอนที่ 11) เปรียบเทียบ วิธีก่อร่างสร้างชาติ

พลเดช ปิ่นประทีป 25 พฤษภาคม 2561 ช่วงต้นเดือนที่ผ่านมา ผมแอบไปพักร้อนกับครอบครัวที่มอสโกและเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก จึงมีโอกาสได้ศึกษาประวัติศาสตร์อารยธรรมของเขาบ้างแบบผิวเผิน ซึ่งพบว่าชาวรัสเซียกับชาวไทยก่อร่างสร้างอาณาจักรมาในเวลาที่ใกล้เคียงกัน (เพิ่มเติม…)... อ่านต่อ
1 min read
บทความ

(ตอนที่ 10) ลาก่อนรัสเซีย

พลเดช ปิ่นประทีป วันจันทร์ที่ 14 พค 2018 ในวันสุดท้าย คณะท่องเที่ยวของเรามีเวลาว่างช่วงเช้าทั้งวัน ตั้งใจจะเดินออกกำลังตอนเช้าเพื่อไปนั่งเล่นที่สวนสาธารณะกอร์กี้พาร์คสักหน่อย แต่เกิดเมื่อยขบไปหมดทั้งตัวจึงพักผ่อนอยู่ที่โรงแรม เด็กๆออกไปซื้อของฝากเพิ่มเติมกันในย่านเร็ดสแควร์ ส่วนภรรยาก็จัดของเตรียมเดินทาง (เพิ่มเติม…)... อ่านต่อ
1 min read
บทความ

(ตอนที่ 9) ปิดท้ายที่จัตุรัสแดง

พลเดช ปิ่นประทีป วันอาทิตย์ที่ 13 พค 2018 เดินทางจากเซ็นต์ปีเตอร์ กลับมามอสโก โดยสายการบิน S7 สีเขียวอ่อน รถที่มารับจากสนามบินรีบพาส่งที่โรงแรม แล้วมุ่งไปเที่ยวที่จัตุรัสแดงเพื่อชดเชยเมื่อสัปดาห์ก่อน (เพิ่มเติม…)... อ่านต่อ
1 min read