Uncategorized

Uncategorized

[fluentform... อ่านต่อ
1 min read
Uncategorized

แบบสำรวจ

[fluentform... อ่านต่อ
1 min read
Uncategorized การจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน

ไร่หมุนเวียน สิทธิทางวัฒนธรรมเพื่อความเป็นธรรมทางนิเวศและสังคม[1]

Rotational farming: Cultural rights for ecological and social practice ดรกฤษฎา บุญชัยKritsada Boonchaiสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนาLocal Development Institute (LDI) บทคัดย่อ             ไร่หมุนเวียน คือระบบการผลิตพื้นบ้านของคนกะเหรี่ยงและกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ที่อยู่บนที่สูงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และที่อื่นๆ โดยประยุกต์จากกระบวนการของนิเวศป่าเขตร้อนชื้นด้วยการทำการผลิตในระยะสั้นและปล่อยพักฟื้นระยะยาวจนผืนดินคืนความสมบูรณ์แล้วจึงวนกลับมา... อ่านต่อ
53 min read
Uncategorized การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และสภาวะโลกร้อน

ความยั่งยืนไม่พอ: เราต้องการวัฒนธรรมเชิงปฏิรูปฟื้นฟู

โดย แดเนียล คริสเตียน วาห์ล (Daniel Christian Wahl) 15 มีนาคม 2560 เผยแพร่โดย INSURGE intelligence สื่อเชิงสืบสวนเพื่อประชาชนและโลกที่ได้รับเงินสนับสนุนจากการระดมทุน ช่วยสนับสนุนเราเพื่อให้ได้รายงานเรื่องที่สื่ออื่นไม่กล้าแตะ แค่ความยั่งยืนไม่พอที่จะเป็นเป้าหมายประการเดียว ตัวคำว่า “ความยั่งยืน” เองไม่เพียงพอเนื่องจากไม่ได้บอกเราว่าจริงๆแล้วเราพยายามรักษาสิ่งใดให้ยั่งยืนกันแน่ ในปี คศ 2005 หลังจากใช้เวลาสองปีในการเขียนวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกเรื่องการออกแบบความยั่งยืน ผมตระหนักได้ว่าสิ่งที่เ... อ่านต่อ
20 min read
Uncategorized

วันที่ 4 พ.ย.62

วันที่  4 พย62 สวัสดีครับผมกฤษฎา บุญชัย ผู้จัดการสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา เมื่อวานนี้ (4 พย62) ผมถูกชักชวนให้ไปถอดบทเรียนป่าชุมชนที่บ้านหนองม่วง ตำบลชุมแสง อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยองโดยมีชุมชน อีกแห่งหนึ่งคือ ชุมชนตำบลพวา อำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรีซึ่งอยู่ไม่ไกลกันนักมาร่วมถอดบทเรียนด้วย ทั้ง 2 พื้นที่เป็น 1 ในเครือข่ายป่าชุมชน รอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก ซึ่งเป็นเครือข่ายป่าชุมชนในภาคกลางที่มีขนาดใหญ่ที่สุดมีชุมชนที่จัดการป่าถึง 80 ชุมชน เครือข่ายป่าชุมชนที่นี่ไม่มีนักพัฒนามาทำงานประจำ... อ่านต่อ
12 min read
Uncategorized

ความนัยของอัดนัน…

  “นี่แหละบ้านฉัน มีทะเลแสนสวยงาม” แบนอได้บอกถึงความเป็นมาของหมู่บ้านตะโละสะมิแลว่าทำไมต้องชื่อนี้แบนอบอกว่าเมื่อก่อน ณ หมู่บ้านแห่งนี้ จะมีฝูงปลาดุกทะเล หรือรู้จักกันว่า อีแกสมิแล (เพิ่มเติม…)... อ่านต่อ
1 min read
Uncategorized ข่าวประชาสังคม

รายงานพิเศษ

                โจทย์ใหญ่ในขบวนการปฏิรูปประเทศไทยซึ่งมีการกำหนดประเด็นการศึกษาค้นคว้า จัดทำเป็นชุดความรู้ออกมาเป็นจำนวนมาก ทั้งในส่วนของคณะกรรมการปฏิรูปและคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปเมื่อปี 2553-2556 ที่ผ่านมา มีความเห็นตรงกันจากสองคณะกรรมการ“ภาคประชาชน”อย่างน่าสนใจว่าปัญหาใหญ่ของสังคมไทยเกิดจาก“ความไม่เป็นธรรม”และ“ความเหลื่อมล้ำ” ที่หยั่งรากฝังลึกมานาน (เพิ่มเติม…)... อ่านต่อ
1 min read
Uncategorized บทความ

ประสบการณ์ประชาสังคม (8): เวทีประชาคมแผน 8 (2540-2543)

                แผนพัฒนาประเทศเป็นเครื่องมือทางนโยบายและยุทธศาสตร์สำคัญที่รัฐไทยได้นำมาใช้กำหนดทิศทางและจังหวะก้าวการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมาตั้งแต่ยุคจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี   แผนพัฒนาประเทศของไทยเป็นแผนระยะ 5 ปี เริ่มตั้งแต่แผน ๑ ในปี 2504 เป็นต้นมา ถึงขณะนี้อยู่ในช่วงของแผน ๑๐ แล้ว (เพิ่มเติม…)... อ่านต่อ
1 min read
Uncategorized บทความ

เมื่อชุมชนตื่นตัวขอมีส่วนร่วม “ ออกแบบชีวิตและกำหนดอนาคตตนเอง”

“ …ภาพไม่ชัดก็จะพากันวิ่งแล้ว  ไม่รู้ว่าเป็นอะไรก็จะพากันไปแล้ว จะไปชนอะไร จะเป็นอะไร เรายังไม่รู้เลย  โจทย์ของเราคือว่า ความคิดที่แตกวงอะไรออกไป มันจะมาสรุปตรงที่ว่า เราจะต้องกำหนดอนาคตของเราเอง (เพิ่มเติม…)... อ่านต่อ
1 min read