ว่าด้วยวิจัยท้องถิ่น ตอนที่ 3 โจทย์และวิธีวิทยาของการวิจัยโดยชุมชน
นักวิชาการหาโจทย์วิจัยจากการต่อยอดหรือหักล้างแนวคิด ทฤษฎีเดิม บ้างก็แสวงหาในสิ่งที่ในแวดวงวิชาการหรือในสังคมยังไม่มีคำตอบชัดเจน
นักวิชาการหาโจทย์วิจัยจากการต่อยอดหรือหักล้างแนวคิด ทฤษฎีเดิม บ้างก็แสวงหาในสิ่งที่ในแวดวงวิชาการหรือในสังคมยังไม่มีคำตอบชัดเจน
ในโลกวิชาการสมัยใหม่ ญาณวิทยาไม่ได้มีแค่ประจักษ์นิยมเท่านั้น ยังมีญาณวิทยาอีกหลายแบบ แต่ที่น่าสนใจเรียกได้ว่าตรงกันข้ามกับประจักษ์นิยมซึ่งเป็นญาณวิทยาหลักของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ คือ “ปรากฏการณ์วิทยา” (Phenomenology)
เมื่อกล่าวถึงงานวิจัยท้องถิ่นที่กำลังเป็นจุดสนใจของนักพัฒนานั้น ตามความหมายที่ สกว.ฝ่ายวิจัยท้องถิ่นให้ไว้สรุปได้ว่า งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น หมายถึง งานวิจัยที่ชุมชนเป็นผู้ดำเนินการหรือเป็นหลักในการดำเนินการ